บรรทึกความเข้าใจ ตอน 2

ตาม หลักการของความตกลง รถที่มีหนังสือรับรองว่าได้รับการตรวจสภาพจากประเทศตนจะได้รับยกเว้นไม่ต้อง ตรวจสภาพในประเทศอื่นอีก กรมการขนส่งทางบกได้ออกระเบียบการออกหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถ เพื่อการใช้รถนอกราชอาณาจักร ซึ่งใช้บังคับกับรถที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ หรือ รถตาม พ.ร.บ. การขนส่ง ทางบกส่วนระเบียบการออกหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถ เพื่อออกให้กับรถตาม พ.ร.บ. รถยนต์อยู่ระหว่างการปรับปรุงการยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถ
กรมการขน ส่งทางบกได้วางระเบียบเรื่องการแปลใบอนุญาตขับขี่เป็นภาษาอังกฤษไว้แล้วตาม หลักของความตกลง ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตขับขี่ของประเทศตนสามารถขับขี่ในอีกประเทศหนึ่งได้ โดยมีเงื่อนไขว่าหากใบอนุญาตขับขี่ไม่เป็นภาษาอังกฤษ จะต้องมีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ การยอมรับใบอนุญาตขับขี่ซึ่งกันและกัน โดยประชาชนสามารถมาขอรับใบแปลใบอนุญาตได้ที่ สำนักมาตรฐานงานทะเบียน และภาษีรถ หรือ สำนักงานขนส่งจังหวัดทั่วประเทศ
ประเด็น ที่เป็นสาระสำคัญ
การบังคับให้เป็นไปตามข้อ กำหนดทางเทคนิคของรถเกี่ยวกับขนาดรถ น้ำหนักรถ น้ำหนักบรรทุกสูงสุด การปล่อยไอเสีย
กฎหมายแม่บท พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535−พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.2522
การยอม รับแผ่นป้ายทะเบียนรถ หนังสือรับรองการจดทะเบียนรถ ที่ออกโดยหน่วยงานที่มีอำนาจของประเทศภาคีคู่สัญญาอื่น กฎหมายแม่บท พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.2522
การยอมรับหนังสือรับรองการ ตรวจสภาพรถซึ่ง ออกโดยภาคีคู่สัญญา กฎหมายแม่บท พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.2522วิ
การยอมรับใบอนุญาตขับขี่รถซึ่งออกให้โดยภาคีคู่ สัญญา
−พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.2522
ระบบ ศุลกากรผ่านแดนเพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้า
−พระราช บัญญัติศุลกากร
การพัฒนาระบบการวางประกัน สินค้าผ่านแดน(Guaranteesystem) ที่น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับระหว่างประเทศ
−พระราช บัญญัติศุลกากร
การจัดแบ่งประเภทพิกัด สินค้า
−พระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ.2530วิ
การขนส่ง สินค้าอันตราย สินค้าต้องห้ามหรือสินค้าที่ถูกจำกัด สินค้าเน่าเสียง่าย
−พระราช บัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.2522−พระราชบัญญัติศุลกากร −พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
ร่วมกันตรวจ (jointinspection)เช่น Single-stopInspection และ Single-windowInspection
พระราช บัญญัติศุลกากร −พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง −พระราชบัญญัติกักพืช−พระราชบัญญัติโรคติดต่อ
ความรับ ผิดตามสัญญาขนส่ง (Carriagecontract
−ตราพระราชบัญญัติใหม่ (มีการดำเนินการยกร่างแล้ว คือ ร่างพระราชบัญญัติการรับขนของทางถนนระหว่างประเทศ และร่างพระราชบัญญัติการรับขนคนโดยสารและสัมภาระทางถนนระหว่างประเทศ)
เนื้อหา รายละเอียดในพิธีสารหรือภาคผนวก
การจัดให้มีโครงสร้างพื้น ฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการปฏิบัติการ กฎจราจร กฎระเบียบ และมาตรฐานเกี่ยวข้องกับการขนส่ง
หน่วยงานหลักที่ รับผิดชอบ
กรม ศุลกากร / สำนักงานตำรวจแห่งชาติ /กรมทางหลว
การยอมรับ หนังสือรับรอง ใบอนุญาตหรือเอกสารที่ออกให้โดยประเทศภาคีคู่สัญญาอื่น
ยานพาหนะ ที่จะใช้ขนส่ง
กรมการขนส่งทางบก
การอำนวย ความสะดวก ณ พรมแดน
กรมศุลกากร / สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ความรับผิดตามสัญญาขนส่ง
กรมการขน ส่งทางบก
กฎหมายไทยที่เกี่ยวกับการขนส่งระหว่างประเทศ
๑. พระราชบัญญัติการขนของทางทะเล
๓. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและ
การค้า ระหว่างประเทศ และวิธีพิจารณาคดี
ทรัพย์สินทางปัญญาและการ ค้าระหว่างประเทศ
๔. กฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ -Conventiononthe ContractfortheInternationalCarriageofGoodsbyRoad(CMR)-Conventiononthe ContractfortheInternationalCarriageofPassengersandLuggagebyRoad(CVR)-Transport International Regulation (TIR)
การให้สิทธิพิเศษด้านภาษี ศุลกากรในการนำเข้าสินค้าเกษตรจากลาวรัฐบาลไทยมีนโยบายสนับสนุนการนำเข้า สินค้าเกษตรจากประเทศเพื่อนบ้านรวมทั้งลาว ภายใต้กรอบอาเซียน และยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (ACMECS)เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน
ไทยได้ ให้สิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากรในการนำเข้าสินค้าเกษตรจากลาว ทั้งในรูปของการให้สิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากรแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ (ASEANIntegrationSystemofPreferences---AISP)และยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าใน ลักษณะ OneWayFreeTradeรวมจำนวน 187 รายการและเพิ่มเป็น 300 รายการในปี 2005 และปี 2006วิ
๑. การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต (BusinessLogisticsImprovement)๒. การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิ สติกส์(TransportandLogisticsNetworkOptimization)๓. การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์ (LogisticsServiceInternationalization)๔. การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (TradeFacilitationEnhancement)๕. การพัฒนากำลังคนและกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (CapacityBuilding)
แผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของไทยปี พ..ศ..25502550--25542554สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2007